แผนไทย12
 เข้าสู่ระบบ - สมัครสมาชิก  |  
 ตะกร้าสินค้า (0)

แบบทดสอบความรู้ทางเภสัชกรรม (ประยุกต์โดย ณฐชาติ 12)
ก่อนอื่นเพื่อนๆต้อง คลิกที่ แถบบาร์สีเหลืองข้างบนก่อน แล้วเลือกบรรทัดแรก จึงจะรายงานคะแนนที่ทำได้ครับ

1. พิกัดยา คือ การจำกัดจำนวน และใช้ สัดส่วนน้ำหนักยาที่เสมอภาค แต่ได้กำหนดน้ำหนักยาแต่ละชนิดไว้ ข้อใดถูกต้อง
ถ้าเป็นยาต้มใช้น้ำหนักส่วนละ 1 บาท
ถ้าเป็นยาผงใช้น้ำหนักส่วนละ 1 เฟื้อง
ถ้าเป็นยาดองใช้น้ำหนักส่วนละ 1 สลึง
ข้อ 1 และ 2 ถูก
ถูกทุกข้อ

2. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ “การตั้งยา”
รสยาจะต้องไม่ขัดกัน
สรรพคุณของยาจะต้องคล้ายคลึงกัน
ตั้งขึ้นตามความเห็นชอบของหมอ
ข้อ 1 และ 2 ถูก
ถูกทุกข้อ

3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ “พิกัดยา”
พิกัดยาสามารถแบ่งออกเป็น 4 หมวด คือ จุลพิกัด พิกัด พิกัดพิเศษ และมหาพิกั
ในจุลพิกัด ตัวยาที่มีชื่อเดียวกันจะมีข้อแตกต่างกันอยู่ 5 ที่ คือถิ่นที่อยู่อาศัย สี ชนิด ขนาด และรส
ในพิกัดตัวยาทั้งหมดต้องใช้น้ำหนักเสมอภาค
ข้อ 2 และ 3 ถูก
ถูกทุกข้อ

4. สมุนไพรในจุลพิกัดใดที่ต่างกันที่สีทั้งหมด
ข่า จันทน์ ผักแพว
ฝ้าย เทียน เถามวก
ผักปอด การบูร กระวาน
พริกไทย หางไหล หัวข้าวเย็น
ละหุ่ง บัวหลวง สีเสียด

5. ชะมด อยู่ในจุลพิกัดประเภทใด
พวกที่ต่างกันที่ขนาด
พวกที่ต่างกันที่สี
พวกที่ต่างกันที่รส
พวกที่ต่างกันที่ชนิด
พวกที่ต่างกันที่ถิ่นกำเนิด

6. ในพิกัดยา 2 สิ่ง ตัวยาที่มีกลิ่นหอม 3 อย่างในยา 2 สิ่ง หมายถึงส่วนใดบ้างของบุนนาคและมะซาง
เกสร ราก เปลือก
ราก เปลือก แก่น
ดอก แก่น ต้น
ดอก แก่น ราก
ใบ ดอก ราก

7. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับพิกัดที่แก้ปิตตะ วาตะ เสมหะในกองธาตุ ฤดู อายุ และกองสมุฏฐาน
สะค้านเป็นสมุนไพรที่อยู่ในพิกัดที่แก้ปิตตะ วาตะ เสมหะในกองธาตุ ฤดู อายุ และกองสมุฏฐาน
ขิงแห้งเป็นสมุนไพรที่อยู่ในพิกัดที่แก้ปิตตะ วาตะ เสมหะในกองธาตุ ฤดู อายุ และกองสมุฏฐาน
ลูกมะขามป้อมเป็นสมุนไพรที่อยู่ในพิกัดที่แก้ปิตตะ วาตะ เสมหะในกองธาตุ ฤดู อายุ และกองสมุฏฐาน
รากเจตมูลเพลิงเป็นสมุนไพรที่อยู่ในพิกัดที่แก้ปิตตะ วาตะ เสมหะในกองธาตุ ฤดู อายุ และกองสมุฏฐาน
พริกไทยเป็นสมุนไพรที่อยู่ในพิกัดที่แก้ปิตตะ วาตะ เสมหะในกองธาตุ ฤดู อายุ และกองสมุฏฐาน

8. ชายไทยคู่ อายุ 26 ปี มาหาท่านที่คลินิกแผนไทยด้วยอาการไข้เรื้อรังมา 1 เดือน ทานอาหารไม่ได้ ร่างกายสูบผอม เซื่องซึมในฐานะที่ท่านเป็นแพทย์แผนไทย พิกัดยาใดบ้างที่ท่านจะจัดให้กับผู้ป่วยรายนี้
พิกัดตรีสุคนธ์
พิกัดตรีมธุรส
พิกัดตรีธารทิพย์
ข้อ 1 และ2 ถูก
ถูกทุกข้อ

9. ผู้ป่วยชายไทยคู่ อายุ62 ปี มาด้วยอาการอ่อนแรงซีกซ้ายมา 6 เดือน มีประวัติป่วยเป็นโรคเบาหวาน มาหาหมอหมอวินิจฉัยว่า เป็นอัมพาตครึ่งซีก ถ้าท่านเป็นแพทย์แผนไทยนอกจากรักษาโดยการนวดแล้วท่านจะใช้ยาพิกัดใดบ้างมารักษา
พิกัดตรีปิตตะผล
พิกัดตรีวาตะผล
พิกัดตรีเสมหะผล
ข้อ 1 และ 3 ถูก
ถูกทุกข้อ

10. ตัวยาในพิกัดต่อไปนี้ ข้อใดควรใช้รักษาโรคอุจจาระธาตุพิการ ยกเว้นข้อใด
โกศน้ำเต้า ลูกสมอไทย รงทอง
เปลือกฝิ่นต้น เกสรบัวหลวง ลูกมะตูมอ่อน
รากว่านหางจระเข้ ฝักราชพฤกษ์ รงทอง
ลูกสมอไทย ลูกสมอเทศ ลูกสมอพิเภก
รากกะเพราแดง หัวกระชาย เหง้าข่า

11. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับพิกัดยา 4 สิ่ง
พิกัดจตุกาลธาตุ มีสรรพคุณ แก้ไข้พรรดึก ขับผายลม
พิกัดจตุทิพยคันทา ประกอบด้วย หัวว่านน้ำ รากเจตมูลเพลิง รากแคแตร รากนมสวรรค์
พิกัดจตุผลาธกะ คือจำนวนผลไม้ให้คุณ 4 อย่าง
พิกัดจตุวาตะผล ประกอบด้วย เหง้าขิง กระลำพัก อบเชย ขอนดอก
ถูกทกข้อ

12. ในพิกัดเบญจกูล ตัวยาใดมีรสหวานเผ็ด สรรพคุณ แก้ลมปั่นป่วนในท้อง แก้ลมป่วง แก้คลื่นเหียนอาเจียน แก้ลมแน่น จุกเสียด แก้นอนไม่หลับ
ดอกดีปลี
รากช้าพลู
เถาสะค้าน
รากเจตมูลเพลิง
เหง้าขิง

13. ในพิกัดเกสรทั้ง5 ตัวยาใดที่ต้องระวังในผู้ป่วยที่มีอาการท้องผูก เนื่องจากตัวยามีรสฝาดกลิ่นหอม
ดอกมะลิ
ดอกพิกุล
ดอกบุนนาค
ดอกสารภี
เกสรบัวหลวง

14. พิกัดใดมีสรรพคุณ แก้พิษตานซาง แก้อุจจาระธาตุพิการ บำรุงเนื้อหนังให้สมบูรณ์
พิกัดเกสรทั้ง5
พิกัดตานทั้ง5
พิกัดโกฐทั้ง7
พิกัดเนาวหอย
พิกัดทศกุลาผล

15. พิกัดเกสรทั้ง7 มีตัวยาใดแตกต่างจากพิกัดเกสรทั้ง5
ดอกสารภี ดอกจำปา
ดอกจำปา ดอกลำดวน
ดอกจำปา ดอกกระดังงา
ดอกลำดวน ดอกจำปา
ดอกกระดังงา ดอกลำดวน

16. บัวชนิดใดไม่พบในพิกัดบัวพิเศษ 6 อย่าง
บัวลินจง บัวนิลุบล
บัวหลวงขาว บัวขม
บัวลินจง บัวขม
บัวนิลุบล บัวจงกลนี
บัวเผื่อน บัวขม

17. ตัวยาใดไม่พบในพิกัดโกศทั้ง 5
โกฐเขมา โกศกักกรา
โกฐจุฬาลัมภา โกศกระดูก
โกฐน้ำเต้า โกศจุฬาลัมภา
โกฐกระดูก โกศน้ำเต้า
โกฐเชียง โกศกักกรา

18. ตัวยาใดไม่พบในพิกัดเนาวหอย
หอยมือเสือ
หอยแครง
หอยนางรม
หอยกาบ
หอยขม

19. โกศตัวใดที่พบในพิกัดปะระเมหะ
โกฐน้ำเต้า
โกฐกระดูก
โกฐก้านพร้าว
โกฐเชียง
โกฐกะกลิ้ง

20. “ตรีผลาวสัง” พบในพิกัดใด
พิกัดทศกุลาผล
พิกัดทศมูลใหญ่
พิกัดปะระเมหะ
พิกัดเบญจผลธาตุ
พิกัดเบญจโลธิกะ

21. พิกัดใดพบทั้งตัวยาที่เป็นพืชวัตถุและธาตุวัตถุ
พิกัดนวโลหะ
พิกัดเหล็กทั้ง 5
พิกัดสัตตโลหะ
พิกัดปะระเมหะ
พิกัดเบญจโลหะ

22. “หัวเต่าเกียด” พบในพิกัดใด
พิกัดเบญจผลธาตุ
พิกัดเบญจโลธิกะ
พิกัดปะระเมหะ
พิกัดทศกุลาผล
พิกัดทศมูลใหญ่

23. แก่นจันทน์ที่พบในพิกัดเบญจโลธิกะและพิกัดจันทน์ทั้ง 5 ข้อใดถูกต้อง
แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์ขาว
แก่นจันทน์ชะมด แก่นจันทน์ขาว
แก่นจันทน์เทศ แก่นจันทนา
แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์ขาว แก่นจันทน์ชะมด
แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์ขาว แก่นจันทน์เทศ

24. พิกัดเบญจอมฤต ประกอบด้วยตัวยาอะไรบ้าง
น้ำนมสด น้ำนมส้ม น้ำอ้อย น้ำผึ้ง น้ำมันเนย
หัวกกลังกา หัวเต่าเกียด หัวแห้วหมู หัวหญ้าชันกาด หัวเปราะ
รากมะตูม รากลำไย รากเพกา รากแคแตร รากคัดลิ้น
แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์ขาว แก่นจันทน์ชะมด ต้นเนระพูสี
โกศสอ โกศเขมา โกศหัวบัว โกศเชียง โกศจุฬาลัมพา

25. สัญลักษณ์ ๓ ๒ ๑ ๓ หนักกี่กรัม
223.125 กรัม
223.250 กรัม
200.125 กรัม
200.250 กรัม
200.725 กรัม

26. ความจุ ของ 1 ทะนาน เท่ากับข้อใด
1 l.
1,000 cc.
1 Kg.
1,000 ml.
ถูกทุกข้อ

27. ข้อใดถูก มาตราสำหรับการตวง
15 หยด จุ 1 ซีซี, 1 ช้อนกาแฟ จุ 4 ซีซี, 1 ช้อนหวาน จุ8 ซีซี, 1 ช้อนคาวจุ 15 ซีซี, 1 ถ้วยชาจุ 30 ซีซี
15 หยด จุ 1 ซีซี, 1 ช้อนกาแฟ จุ 4 ซีซี, 1 ช้อนหวาน จุ8 ซีซี, 1 ช้อนคาวจุ 12 ซีซี, 1 ถ้วยชาจุ 30 ซีซี
10 หยด จุ 1 ซีซี, 1 ช้อนกาแฟ จุ 8 ซีซี, 1 ช้อนหวาน จุ 10 ซีซี, 1 ช้อนคาวจุ 12 ซีซี, 1 ถ้วยชาจุ 30 ซีซี
10 หยด จุ 1 ซีซี, 1 ช้อนกาแฟ จุ 8 ซีซี, 1 ช้อนหวาน จุ 10 ซีซี, 1 ช้อนคาวจุ 12 ซีซี, 1 ถ้วยชาจุ 30 ซีซี
10 หยด จุ 1 ซีซี, 1 ช้อนกาแฟ จุ 8 ซีซี, 1 ช้อนหวาน จุ 10 ซีซี, 1 ช้อนคาวจุ 12 ซีซี, 1 ถ้วยชาจุ 40 ซีซี

28. มาตราวัดข้อใดกล่าวผิด
2 เมล็ดงา เป็น 1 เมล็ดข้าวเปลือก, 4 เมล็ดข้าวเปลือกเป็น 1 องคุลี, 15 องคุลี เป็น 1 ชันฉาย
2 เมล็ดงา เป็น 1 เมล็ดข้าวเปลือก, 4 เมล็ดข้าวเปลือกเป็น 1 กล่อม, 2 กล่อมเป็น 1 กล่ำ
4 บาท เป็น 1 ตำลึง, 20 ตำลึงเป็น 1 ชั่ง, 20 ชั่งเป็น 1 ดุล
150 เมล็ดข้าวเปลือกเป็น 1 หยิบมือ, 4 หยิบมือเป็น 1 กำมือ, 4 กำมือ เป็น 1 ฟายมือ
4 กำมือเป็น 1 ฟายมือ, 2 ฟายมือเป็น 1 กอบมือ,2 กอบมือเป็น1 ทะนาน

29. 2 บั้น หรือกี่สัด จึงเท่ากับ1 เกวียน
80 สัด
100 สัด
150 สัด
160 สัด
200 สัด

30. การคัดเลือกและการเก็บยา เพื่อปรุงยาให้ได้คุณภาพดี จะต้องมีหลักเกณฑ์และวิธีการอย่างไร ที่ครอบคลุมมากที่สุด
ชนิดของตัวยา, คุณภาพ, ความสะอาด
ชนิดของตัวยา, การคัดเลือกตัวยา, คุณภาพ
ชนิดของตัวยา, คุณภาพ, ความรู้ของเภสัชกร
ชนิดของตัวยา, ความสะอาด, ความรู้ของเภสัชกร
ชนิดของตัวยา, ความสะอาด, การคัดเลือกตัวยา

31. ตัวยาใดไม่จัดเป็นตัวยามีฤทธิ์แรง
ยางเทพธาโร
กัญชา
จุนสี
พระขรรค์ไชยศรี
เหล็ก

32. ข้อใดผิด วิธีการทำให้ฤทธิ์ตัวยาอ่อนลง จนสามารถนำมาใช้ไม่เกิดอันตรายต่อร่างกาย
นายแดงสะตุมหาหิงคุ์ โดยนำมหาหิงคุ์มาใส่ในภาชนะ ใช้ใบกะเพราแดงใส่น้ำ ต้มจนเดือด
นายดำสะตุรงทอง เอารงทองมาบดให้ละเอียด แล้วห่อด้วยใบบัวหรือใบข่า 7 ชั้น นำไปปิ้งไฟจนสุกกรอบดี
นายเขียวสะตุเหล็ก เอาเหล็กมาครางด้วยตะไบ แล้วนำผงเหล็กที่ได้มาใส่ในฝาละมีหรือหม้อดิน
นายขาวสะตุน้ำประสานทอง เอาน้ำประสานทองใส่หม้อดิน ตั้งไฟจนละลายฟูขาวทั่วกันดีแล้วจึงนำไปปรุงยา

33. วัตถุประสงค์ของน้ำกระสายยาข้อใดผิด
เพื่อให้กลืนง่าย ไม่ฝืดหรือติดคอ
ช่วยให้ยามีฤทธิ์ตรงต่อโรค นำฤทธิ์ยาให้แล่นเร็ว
เพื่อเพิ่มสรรพคุณของยาให้มีฤทธิ์แรงขึ้น หรือมีฤทธิ์ช่วยตัวยาหลักในการรักษาอาการ
ทำให้พิษของยาอ่อนลง
ช่วยแต่งรสยาให้มีรส สี กลิ่น น่ารับประทาน

34. น้ำกระสายยา ข้อใดผิด
แก้กินผิดสำแดง อาหารเป็นพิษ เอาเปลือกแคแดง ต้มเอาน้ำเป็นกระสายยาหรือทับทิมทั้ง 5 ต้มกับน้ำปูนใสเป็นน้ำกระสายยา
แก้ไข้มัว เอาน้ำดอกไม้เป็นกระสายยา
แก้สะอึก เอารากมะกล่ำเครือต้มกับน้ำเป็นกระสายยา
แก้หอบ เอาใบทองหลางใบมน ต้มเอาน้ำเป็นกระสายยา
แก้ไข้เพ้อคลั่ง เอาใบมะนาว 108 ใบ ต้มเอาน้ำเป็นกระสายยา

35. น้ำกระสายยา ข้อใดผิด
แก้กินอาหารไม่รู้รส เอาโกฏหัวบัว ชะเอมเทศ เป็นกระสายยา
แก้สวิงสวายเอาน้ำซาวข้าว เป็นกระสายยา
แก้อกแห้งชูกำลัง
ทำให้มีกำลัง เอาน้ำตาล ต้มเอาน้ำเป็นกระสายยา
แก้สะบัดร้อนสะบัดหนาวเอาน้ำมูตรเป็นน้ำกระสายยา

36. วัตถุประสงค์ของน้ำกระสายยาข้อใดผิด
เพื่อเพิ่มสรรพคุณของยาให้มีฤทธิ์แรงขึ้น หรือมีฤทธิ์ช่วยตัวยาหลักในการรักษาอาการ
ช่วยให้ยามีฤทธิ์ตรงต่อโรค นำฤทธิ์ยาให้แล่นเร็ว
เพื่อให้กลืนง่าย ไม่ฝืดหรือติดคอ
ทำให้พิษของยาอ่อนลง
ช่วยแต่งรสยาให้มีรส สี กลิ่น น่ารับประทาน

37. การคัดเลือกและการเก็บยา เพื่อปรุงยาให้ได้คุณภาพดี จะต้องมีหลักเกณฑ์และวิธีการอย่างไร ที่ครอบคลุมมากที่สุด
ชนิดของตัวยา, ความสะอาด, การคัดเลือกตัวยา
ชนิดของตัวยา, คุณภาพ, ความสะอาด
ชนิดของตัวยา, คุณภาพ, ความรู้ของเภสัชกร
ชนิดของตัวยา, ความสะอาด, ความรู้ของเภสัชกร
ผิดหมด

38. มาตราวัดข้อใดกล่าวผิด
4 กำมือเป็น 1 ฟายมือ, 2 ฟายมือเป็น 1 กอบมือ,2 กอบมือเป็น1 ทะนาน
2 เมล็ดงา เป็น 1 เมล็ดข้าวเปลือก, 4 เมล็ดข้าวเปลือกเป็น 1 องคุลี, 15 องคุลี เป็น 1 ชันฉาย
2 เมล็ดงา เป็น 1 เมล็ดข้าวเปลือก, 4 เมล็ดข้าวเปลือกเป็น 1 กล่อม, 2 กล่อมเป็น 1 กล่ำ
150 เมล็ดข้าวเปลือกเป็น 1 หยิบมือ, 4 หยิบมือเป็น 1 กำมือ, 4 กำมือ เป็น 1 ฟายมือ
4 บาท เป็น 1 ตำลึง, 20 ตำลึงเป็น 1 ชั่ง, 20 ชั่งเป็น 1 ดุล

39. พิกัดเบญจอมฤต ประกอบด้วยตัวยาอะไรบ้าง
น้ำนมสด น้ำนมส้ม น้ำอ้อย น้ำผึ้ง น้ำมันเนย
โกศสอ โกศเขมา โกศหัวบัว โกศเชียง โกศจุฬาลัมพา
แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์ขาว แก่นจันทน์ชะมด ต้นเนระพูสี
รากมะตูม รากลำไย รากเพกา รากแคแตร รากคัดลิ้น
หัวกกลังกา หัวเต่าเกียด หัวแห้วหมู หัวหญ้าชันกาด หัวเปราะ

40. แก่นจันทน์ที่พบในพิกัดเบญจโลธิกะและพิกัดจันทน์ทั้ง 5 ข้อใดถูกต้อง
แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์ขาว แก่นจันทน์เทศ
แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์ขาว แก่นจันทน์ชะมด
แก่นจันทน์เทศ แก่นจันทนา
แก่นจันทน์ชะมด แก่นจันทน์ขาว
แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์ขาว

41. “หัวเต่าเกียด” พบในพิกัดใด
พิกัดทศมูลใหญ่
พิกัดทศกุลาผล
พิกัดปะระเมหะ
พิกัดเบญจโลธิกะ
พิกัดเบญจผลธาตุ

42. พิกัดใดพบทั้งตัวยาที่เป็นพืชวัตถุและธาตุวัตถุ
พิกัดเหล็กทั้ง 5
พิกัดนวโลหะ
พิกัดสัตตโลหะ
พิกัดปะระเมหะ
พิกัดเบญจโลหะ

43. “ตรีผลาวสัง” พบในพิกัดใด
พิกัดปะระเมหะ
พิกัดทศกุลาผล
พิกัดทศมูลใหญ่
พิกัดเบญจผลธาตุ
พิกัดเบญจโลธิกะ

44. โกศตัวใดที่พบในพิกัดปะระเมหะ
โกฐน้ำเต้า
โกฐกะกลิ้ง
โกฐเชียง
โกฐก้านพร้าว
โกฐกระดูก

45. ตัวยาใดไม่พบในพิกัดเนาวหอย
หอยขม
หอยกาบ
หอยนางรม
หอยแครง
หอยมือเสือ

46. ตัวยาใดไม่พบในพิกัดโกศทั้ง 5
โกฐเชียง โกศกักกรา
โกฐเขมา โกศกักกรา
โกฐจุฬาลัมภา โกศกระดูก
โกฐน้ำเต้า โกศจุฬาลัมภา
โกฐกระดูก โกศน้ำเต้า

47. บัวชนิดใดไม่พบในพิกัดบัวพิเศษ 6 อย่า
บัวเผื่อน บัวขม
บัวนิลุบล บัวจงกลนี
บัวลินจง บัวขม
บัวหลวงขาว บัวขม
บัวลินจง บัวนิลุบล

48. พิกัดเกสรทั้ง7 มีตัวยาใดแตกต่างจากพิกัดเกสรทั้ง5
ดอกจำปา ดอกกระดังงา
ดอกสารภี ดอกจำปา
ดอกจำปา ดอกลำดวน
ดอกลำดวน ดอกจำปา
ดอกกระดังงา ดอกลำดวน

49. พิกัดใดมีสรรพคุณ แก้พิษตานซาง แก้อุจจาระธาตุพิการ บำรุงเนื้อหนังให้สมบูรณ์
พิกัดตานทั้ง5
พิกัดเกสรทั้ง5
พิกัดโกฐทั้ง7
พิกัดเนาวหอย
พิกัดทศกุลาผล

50. ในพิกัดเกสรทั้ง5 ตัวยาใดที่ต้องระวังในผู้ป่วยที่มีอาการท้องผูก เนื่องจากตัวยามีรสฝาดกลิ่นหอม
เกสรบัวหลวง
ดอกมะลิ
ดอกพิกุล
ดอกบุนนาค
ดอกสารภี

ผลคะแนน =
เฉลยคำตอบ:

Advertising Zone    Close

Online: 1 Visits: 42,193 Today: 2 PageView/Month: 126

ด้วยความปราถนาดีจาก "สยามทูเว็บดอทคอม" และเพื่อป้องกันการเปิดเว็บไซต์เพื่อหลอกลวงขายของ โปรดตรวจสอบร้านค้าให้แน่ใจก่อนตัดสินใจซื้อของทุกครั้งนะคะ    อ่านเพิ่มเติม ...